Friday, December 9, 2011

I have just finished reading Paul Handley’s biography of Thailand’s King Bhumiphol. The book is banned in Thailand and there are even reports that access to the web site of the book’s publisher has been blocked by Thai internet service providers.

*The King Never Smile*
05/04/2010 at 10:50 am (บทความ)


I have just finished reading Paul Handley’s biography of Thailand’s King Bhumiphol.

The book is banned in Thailand and there are even reports that access to the web site of the book’s publisher has been blocked by Thai internet service providers. There is certainly much in the book that would cause grave offence to Thais, especially given the current outpouring of love and respect that has marked the sixtieth anniversary of the King’s reign. I have heard some Thais here in Australia dismiss the book as “biased” or as containing a lot of “gossip”.

Handley is, no doubt, critical of what he sees as the persistently anti-democratic tendencies of the monarchy in Thailand. And there is a sprinkling of salacious gossip about the royal family. But the criticisms are placed in the context of a detailed political history of Thailand since the early decades of the twentieth century.

This political history strikes me as an important contribution to Thai scholarship and, while there is much room for debate about specific findings, there are many insights which contribute to an understanding of Thailand’s current political mess.

And, yes, there is some gossip (though most of Handley’s material seems to come from well documented sources). But, from an Australian perspective, this seems rather mild, especially when compared to the extraordinary dissection of our own royal family’s woes.

Over the past few months in Thailand there has been much discussion about the importance of democratic institutions beyond the electoral process. Should those institutions cater for free publication of political opinion,

Even if that opinion involves criticism of a figure as revered as the King? What role do lèse-majesté laws have to play in a modern democracy? To me it is clear that there is enormous respect for the King throughout Thailand. Banning an informed, if critical, political commentary on his reign seems to involve an underestimation of the strength and resilience of this sentiment.

New Mandala
Wikipedia
Yalepress
ThaiTKNS
Red More Thai version

ศ.นิธิ เอียวศรีวงศ์ วิจารณ์ The King Never Smiles (ฉบับเต็ม)
1. ก่อนอื่นต้องขออภัยผู้เขียน (พอล แฮนด์ลีย์) ไว้ในที่นี้ด้วย เพราะไม่อยู่ในที่นี้ การวิจารณ์นี้อาจมาจากความเข้าใจผิดในเนื้อหาที่นำเสนอ โดยผู้เขียนไม่อาจชี้แจงได้

2. ก่อนหน้าเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 รัฐศาสตร์ไทยไม่มีอะไรจะพูดมากนักเกี่ยวกับบทบาททางการเมืองของสถาบันพระมหากษัตริย์ นอกจากเป็นที่เคารพสักการะของปวงชนฉะนั้นจึงเป็นศูนย์รวมจิตใจของประชาชน ทำให้ประเทศไทยรักษาความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันไว้ได้

ท่ามกลางความแตกแยกแตกต่างนานาชนิดในประเทศไทยอันที่จริง นับตั้งแต่ 2490 เป็นต้นมา หรือโดยเฉพาะหลัง 2500 เป็นต้นมา ได้ปรากฏบทบาททางสังคมและวัฒนธรรมของสถาบันพระมหากษัตริย์อย่างเข้มข้นมากขึ้นตามลำดับอยู่แล้ว

แต่รัฐศาสตร์ไทยก็ไม่ได้สนใจจะอธิบายบทบาททางการเมืองของสถาบันพระมหากษัตริย์แตกต่างไปจากที่กล่าวแล้ว (ทั้งนี้ยังไม่พูดถึงบทบาททางเศรษฐกิจขององค์กรธุรกิจที่เนื่องอยู่กับสถาบันฯ ซึ่งขยายตัวอย่างรวดเร็วมาพร้อมกัน)การที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯทรงสามารถยุติการนองเลือดในเหตุการณ์ 14 ตุลา

สร้างความอัศจรรย์ใจแก่ผู้คนนอกประเทศไทยอย่างมาก รวมทั้งนักวิชาการไทยคดีศึกษาหลายท่าน แต่รัฐศาสตร์ไทยก็ไม่มีคำอธิบายอันใดเพิ่มเติมเกี่ยวกับบทบาททางการเมืองของสถาบันพระมหากษัตริย์ ทั้งนี้อาจเป็นเพราะพระราชอำนาจที่ทรงยุติการนองเลือดนั้น

ยังสามารถใช้กรอบคำอธิบายเดิมได้อยู่ กล่าวคือโดยอาศัยฐานะที่ทรงเป็นศูนย์รวมของชาติ เป็นสถาบันที่ได้รับความเคารพสักการะมาแต่อดีต เป็นเงื่อนไขที่เปิดให้ทรงสามารถยุติการนองเลือดได้ เป็นบทบาทเดิมที่มีอยู่แล้ว คือรักษาความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของชาติ

ท่ามกลางความแตกแยกขัดแย้งซึ่งทำให้เกิดความรุนแรงและวิกฤตทางการเมืองสิ่งที่น่าประหลาดก็คือ รัฐศาสตร์ไทยยอมรับมานานแล้วว่า หลัง 2475 มาจนถึง 2590เป็นอย่างน้อย สถาบันพระมหากษัตริย์ไทยมีสถานะตกต่ำลงอย่างมาก

ทั้งเพราะความพยายามของคณะราษฎรหรือบางคนในคณะราษฎรที่จะจำกัดบทบาทของสถาบันฯลง และเพราะพระมหากษัตริย์ทั้งสองรัชกาลยังทรงพระเยาว์อยู่ ฉะนั้นการกลับมามีความสำคัญถึงสามารถยุติการนองเลือดใน พ.ศ. 2516 ได้ จึงต้องมาจากความเปลี่ยนแปลงบางอย่างของสถาบันพระมหากษัตริย์ด้วย

ไม่ใช่การสืบเนื่องตามปรกติแน่ แต่ก็ไม่มีความพยายามจะอธิบายกระบวนการกลับฟื้นคืนความสำคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์อย่างเป็นระบบในทางวิชาการหากมีการกระทำเช่นนั้น ก็จะทำให้เห็นพลวัตของสถาบันฯซึ่งจะช่วยทบทวนกรอบคำอธิบายบทบาททางการเมืองของสถาบันพระมหากษัตริย์ซึ่งใช้กันอยู่ได้อย่างไรก็ตาม

นับตั้งแต่เหตุการณ์ 6 ตุลา 2519 เป็นต้นมา กรอบคำอธิบายที่เคยใช้มาแต่เดิมดูเหมือนไม่สามารถอธิบายบทบาททางการเมืองของสถาบันฯได้ง่ายอีกแล้ว พูดอีกอย่างหนึ่งก็คือ ไม่สามารถเอาข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นยัดลงไปในทฤษฎีหรือกรอบคำอธิบายที่ใช้กันมาแต่เดิมได้

(แม้แต่เฉพาะข้อเท็จจริงที่ปรากฏแก่สาธารณชน ไม่นับข้อเท็จจริงที่ไม่รู้กันแพร่หลาย)ยกเว้นแต่ไม่พูดถึงสถาบันพระมหากษัตริย์เลย หรือแยกข้อเท็จจริงออกจากตัวทฤษฎีหรือกรอบคำอธิบาย กลายเป็นสองอย่างที่ไม่เกี่ยวกันควรกล่าวด้วยว่า ในระยะเวลาหลัง 6 ตุลา 2519 เป็นต้นมา

มีงานบทความวิชาการของนักรัฐศาสตร์ทั้งไทยและเทศอยู่บ้าง (ส่วนใหญ่เทศ เพราะบรรยากาศของเสรีภาพทางวิชาการไม่เปิดกว้างในประเทศไทย) ที่จะโดยตั้งใจหรือไม่ก็ตาม ตั้งคำถามกรอบคำอธิบายเดิมเกี่ยวกับบทบาททางการเมืองของสถาบันพระมหากษัตริย์

เช่นการวิเคราะห์ปัจจัยทางสังคม, เศรษฐกิจ,การเมือง ซึ่งนำมาสู่เหตุการณ์ 6 ตุลา แม้ไม่ได้วิพากษ์กรอบคำอธิบายโดยตรง แต่โดยนัยะก็ทำให้เห็นว่าไม่สามารถใช้เพื่อเข้าใจบทบาททางการเมืองของสถาบันพระมหากษัตริย์ได้อย่าง


http://secrecynews.wordpress.com/2010/04/05/the-king-never-smile/